Loading...

Agritech Green Office

Home / หมวดที่4

หมวดที่4

การจัดการน้ำเสีย
Image

4.2 การจัดการของเสีย

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง ดังนี้

    คำอธิบาย
  •    ไม่ขอรับการประเมิน  
  • ผลดำเนินงาน
  • การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล   
  • มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีการมีตะแกรงดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน
  • มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
  • มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (หากมีพื้นที่ของอาคารน้อยกว่า ๕,๐๐๐ ตร.ม.จะไม่มีกฎหมายกำหนด)

  • หลักฐาน 4.2.1
  • ไม่ขอรับการประเมิน

4.2.2 การจัดการดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

    คำอธิบาย
  •    ไม่ขอรับการประเมิน  
  • ผลดำเนินงาน
  • มีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมันตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน  
  • มีการนำเศษอาหาร น้ำมันและไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
  • มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
  • มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ

  • หลักฐาน 4.2.2
  • ไม่ขอรับการประเมิน